Hyperglycemic crises in adult with diabetes

Hyperglycemic crises in adult with diabetes ทั้ง DKA HHS สามารถเกิดได้ทั้งเบาหวานชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 หรือเบาหวานชนิดอื่น แต่ DKA พบมากใน type1DM ส่วน HHS พบมากใน type2DM ปัจจัยกระตุ้น ได้แก่ ติดเชื้อเช่น ไตอักเสบ ปอดบวม ขาดยาเบาหวาน รวมถึงยากลุ่ม SGLT2i การวินิจฉัย DKA : hyperglycemia น้ำตาลในเลือด>/= 200mg/dL หรือมีประวัติเป็นเบาหวาน , increased ketone concentration in the blood > 3 mmol/L and/or urine ketone > 2+, and metabolic acidosis pH < 7.3 and/or HCO3 < 18 mol/Lกลไกการเกิด DKA เกิดจาก severe insulin deficiency และการเพิ่มขึ้นของ counterregulatory hormones (glucagon, cortisol, epinephrine, and growth hormones) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนของ insulin/glucagon ratio เกิดการเพิ่ม gluconeogenesis, accelerated glycogenolysis, ลดการเกิด glucose utilization โดย peripheral tissues. การประกอบกันของ insulin deficiency และ การเพิ่ม counterregulatory hormones เกิดการปลดปล่อย free fatty acids จาก adipose tissues (lipolysis) ส่งผลให้ unrestrained hepatic fatty acid oxidation มีการสร้างสาร ketone bodies เกิด ketonemia และ metabolic acidosis เหตุผลที่ criteria Dx DKA ลดค่าระดับน้ำตาลในเลือดจาก 250 ลง เหลือ 200 มก/ดล. เนื่องจากปัจจุบันพบ Euglycemic DKA มากขึ้น จากหลายเหตุ เช่น exogenous insulin injection, reduced food intake, pregnancy, or impaired gluconeogenesis due to alcohol use, liver failure, and/or SGLT2 inhibitor therapy การวินิจฉัย HHS: severe hyperglycemia น้ำตาลในเลือด >/= 600mg/dL, hyperosmolality calculated serum osmole > 300 mOsm/kg, มีภาวะ dehydration โดยไม่มี ketosis or acidosis กลไกการเกิด HHS มี insulin deficiency น้อยกว่า DKA จึงมี insulin เพียงพอในการป้องกันการเกิด ketogenesis แต่ไม่พอในการลดน้ำตาลในเลือด จึงเกิดเพียง hyperglycemia, แต่ไม่มี ketosisการมีน้ำตาลในเลือดสูง ส่งผลให้ osmotic diuresis, volume depletion และ hemoconcentration ผลที่ตามมาคือ hyperosmolar state, renal impairment เกิดการลดลงของการรู้สติ cognitive function Link : https://diabetesjournals.org/care/article/47/8/1257/156808/Hyperglycemic-Crises-in-Adults-With-Diabetes-A Download File
สมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทยจัดอบรมหลักสูตร Lifestyle Medicine (LC) รุ่นที่ 2

สมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทยจัดอบรมหลักสูตร Lifestyle Medicine (LC) รุ่นที่ 2 สมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทยจัดอบรมหลักสูตร Lifestyle Medicine (LC) รุ่นที่ 2 กลับสู่การอบรมรอบสุดท้าย วันที่ 18 กันยายน 2567 ณ ห้องประชุมเพชร สถาบันบำราศนราดูรในช่วงเช้า รศ.นพ.สุทัศน์ รุ่งเรืองหิรัญญา หัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ให้เกียรติบรรยาย และฝึกปฏิบัติเรื่องการโค้ชเพื่อการลดละเลิกบุหรี่ในช่วงบ่าย ดร.นพ.สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรคให้เกียรติบรรยายเรื่อง Wellness workplaces และได้รับเกียรติจาก ดร.นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้ช่วยผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ มาบรรยายเรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลตนเอง#LC #LifestyleMedicine #KAMCenter